Pending Order คืออะไร
สวัสดีครับ เพื่อนๆ เทรดเดอร์ทุกคน
หลายๆคนอาจจะเคยได้ยินเพื่อนๆเทรดเดอร์พูดกันหลายต่อหลายครั้ง เอร้ย มรึงใช้คำสั่ง Pending Order สิ ส่วนเราก็ทำหน้างงนิดๆ แล้วก็ถามตัวเองว่า มันคืออะไรหว่า 555 เออๆ เด๋วกรูลองดู ...
คำว่า Pending Order ผมขอทับศัพท์เลยละกันนะครับ ไม่ขอเขียนเป็นคำไทย เด๋วราชบัญฑิตให้ผมแก้ ถึงกับซวยเลย Pending Order คือ ประเภทคำสั่งที่เราใช้เพื่อเข้าออเดอร์ แต่ไม่ใช้ ณ เวลานี้ (Marketหรือ Instant Executed) โดยประเภทของคำสั่งในโบรกเกอร์ มีหลายประเภทมาก แต่เราก็นิยมใช้กันก็คือ Instant Execution ถ้าให้ผมแปลก็คือ เข้าทันที ทันใด ณ ราคา ขณะนั้นเลย หรือภาษาบ้านๆผมก็คือ เข้าแมร่งเลย 555+ หรือบางโบรกเกอร์ อาจจะใช้คำว่า Market อีกคำสั่งนึงที่เป็นหัวข้อของเราในวันนี้ก็คือ Pending Order ก็คือ รอเข้าในราคาที่เราคิดว่า มันจะ... ลงมาถึง ... ขึ้นไปถึง ... ทะลุไปแล้วชน แล้ววิ่งฉลุยไปเลย หรือปะสาอังกิตหน่อย (เขียนผิดนิดนึง 555 ตั้งใจๆ ) Breakout แล้วไปเลย เป็นต้น . หรือที่ผมพูดบ่อยๆ มรึงจะรีบเข้าไปไหน รอราคามันไปถึงตรงนั้นก่อน ค่อย Buy Limit หรือ ตั้ง Sell limit สวนมันเลย ..
คำสั่ง Pending Order มันมีสองประเภทใหญ่ๆ คือ
1.คำสั่ง Limit (อ่านว่า ลีหมิด นะครับ ไม่ใช่ ลิมิต พลาดพิงนิดนึง ) คำสั่ง Limit คือ คำสั่งที่ใช้ตั้งสวนราคา แปลง่ายๆเลยละกัน มีสองประเภท
1.1 Buy Limit เราจะใช้ก็ต่อเมื่อ ราคามันลง ๆๆ ลงมาเรื่อยๆ เราหาแนวรับได้แล้ว ประมาณว่า เราจะรับซื้อที่ราคานี้แหระ ก็ใช้คำสั่ง Buy Limit ได้เลยในขณะที่ราคายังไม่ถึง และอีกกรณี คือ เราเห็นราคามันขึ้น ขึ้นไปเรื่อยๆ แต่เราเข้าไม่ทันละ เราต้องคิดว่า ราคามันไม่ขึ้นอย่างเดียวหรอก มันต้องย่อ ก็หาราคาที่มันจะย่อ หรือหาราคาที่จะพักตัวนั่นเอง เพื่อที่จะเข้าออเดอร์ เมื่อหาราคาย่อได้แล้ว ก็ใช้คำสั่ง Buy Limit ทันที
1.2 Sell limit ตรงข้ามกับหัวข้อ 1.1 เลยครับ มองกลับกัน หากเราคิดว่า ราคามันขึ้นมาถึงจุดนี้ ซึ่งเป็นแนวต้าน มันเด้งลงแน่นอน เราก็ใช้คำสั่ง Sell limit ตั้งรอมันเลย อีกกรณี กราฟเป็นขาลงอยู่ ก็ต้องคิดว่า มันคงไม่ลงอย่างเดียว มันต้องขึ้นพักตัวบ้างสิ เราก็หาราคาที่กราฟเด้งพักตัว พอหาเจอแล้ว ก็ใส่คำสั่ง Sell Stop ได้เลยครับ
2.คำสั่ง Stop คำสั่ง Stop คือ คำสั่งที่ใช้ตามราคา ตามเทรน อธิบายความหมายอาจจะไม่เข้าใจ มาดูเลยละกัน มีสองประเภท เหมือนกันครับ
2.1 Buy Stop เราจะใช้คำสั่งนี้ก็ต่อเมื่อ กรณีแรก เราเห็นราคามันลงๆ ลงมาๆเรื่อยๆ ที่นี้เราจะรอเข้า แต่ราคามันต้องสร้าง Uptrend ก่อน ก็คือ จุดต่ำสุดยกตัวสูงขึ้น จุดสูงสุดก็ยกตัวสูงขึ้นด้วยเช่นกัน เมื่อเรารู้ว่า มันเริ่มยกตัวสูงขึ้นแล้ว ก็ใช้จุดสูงสุดแรก เป็นจุดเข้า Buy โดยตั้งสมมติฐานไว้ว่า ถ้าราคาทะลุ High แรกไป ออเดอร์ของเราจะเปิดทันที เราก็ตั้ง Buy Stop ไว้ที่ราคา High แรกเลย
กรณีที่สอง เราเห็นกราฟขึ้นมาสร้างจุดสูงสุด แล้วมันย่อตัวลงไปพักตัว แต่เราคิดว่า ราคามันต้องขึ้นไปต่อแน่นอน เราก็ไปตั้ง Buy Stop ไว้ที่ตำแหน่ง High ถ้าราคาขึ้นมา ออเดอร์ของเราก็จะเปิดทันที
2.2 Sell Stop คำสั่งนี้ก็ตรงข้ามกับหัวข้อ 2.1 ถ้าเราคิดว่า ราคาจะ Breakout Low เดิม ก็ใช้คำสั่ง Sell Stop ตั้งไว้ที่ Low เดิมได้เลย
Note : คำสั่ง Stop โดยส่วนใหญ่จะใช้คำสั่งนี้เพื่อเทรดแบบรอราคาทะลุ (Breakout Trading )
นอกจากนี้เรายังสามารถ แก้ไขออเดอร์ที่เราได้ตั้งไว้ (Pending Order) สามารถแก้ได้ทั้งราคาที่จะเข้า (Entry Price ) ราคาตัดขาดทุน (Stop Loss ) ราคาเป้าหมาย (Target Price ) รวมทั้งปรับขนาดของปริมาณการซื้อปริมาณการซื้อ ขายของเรา (Volume lot size) ได้อีกด้วย โดยการคลิกขวาที่ออเดอร์ที่เราเข้าไว้ที่ Terminal (Ctrl+T)
คำสั่งพวกนี้จะเหมาะมากสำหรับเทรดเดอร์ที่เทรดแบบ Bar By Bar แท่งต่อแท่ง สมมติว่าราคาแท่งปัจจุบันมันขึ้น ก็ เราก็รอให้มันปิดแท่งก่อน รอราคาแท่งใหม่ย่อลงมาประมาณ ครึ่งแท่ง หรือ ที่ราคาเปิดของแท่งก่อนหน้า แล้วก็ใช้คำสั่ง Buy Limit ในการเข้าออเดอร์ ซึ่งจะหลีกเลี่ยงปัญหา คำถามที่โบรกเกอร์ที่มันชอบถามว่า "คุณแน่ใจหรือ ว่าจะเข้าราคานี้ " หรือ ปัญหาการ Re-Quote นั่นเอง
ลองเอาไปใช้กันนะครับ หวังว่าบทความนี้จะมีประโยชน์กับเพื่อนๆเทรดเดอร์ทุกคน
ขอบคุณสำหรับการอ่านครับ
9professionaltrader
สวัสดีครับ เพื่อนๆ เทรดเดอร์ทุกคน
หลายๆคนอาจจะเคยได้ยินเพื่อนๆเทรดเดอร์พูดกันหลายต่อหลายครั้ง เอร้ย มรึงใช้คำสั่ง Pending Order สิ ส่วนเราก็ทำหน้างงนิดๆ แล้วก็ถามตัวเองว่า มันคืออะไรหว่า 555 เออๆ เด๋วกรูลองดู ...
คำว่า Pending Order ผมขอทับศัพท์เลยละกันนะครับ ไม่ขอเขียนเป็นคำไทย เด๋วราชบัญฑิตให้ผมแก้ ถึงกับซวยเลย Pending Order คือ ประเภทคำสั่งที่เราใช้เพื่อเข้าออเดอร์ แต่ไม่ใช้ ณ เวลานี้ (Marketหรือ Instant Executed) โดยประเภทของคำสั่งในโบรกเกอร์ มีหลายประเภทมาก แต่เราก็นิยมใช้กันก็คือ Instant Execution ถ้าให้ผมแปลก็คือ เข้าทันที ทันใด ณ ราคา ขณะนั้นเลย หรือภาษาบ้านๆผมก็คือ เข้าแมร่งเลย 555+ หรือบางโบรกเกอร์ อาจจะใช้คำว่า Market อีกคำสั่งนึงที่เป็นหัวข้อของเราในวันนี้ก็คือ Pending Order ก็คือ รอเข้าในราคาที่เราคิดว่า มันจะ... ลงมาถึง ... ขึ้นไปถึง ... ทะลุไปแล้วชน แล้ววิ่งฉลุยไปเลย หรือปะสาอังกิตหน่อย (เขียนผิดนิดนึง 555 ตั้งใจๆ ) Breakout แล้วไปเลย เป็นต้น . หรือที่ผมพูดบ่อยๆ มรึงจะรีบเข้าไปไหน รอราคามันไปถึงตรงนั้นก่อน ค่อย Buy Limit หรือ ตั้ง Sell limit สวนมันเลย ..
คำสั่ง Pending Order มันมีสองประเภทใหญ่ๆ คือ
1.คำสั่ง Limit (อ่านว่า ลีหมิด นะครับ ไม่ใช่ ลิมิต พลาดพิงนิดนึง ) คำสั่ง Limit คือ คำสั่งที่ใช้ตั้งสวนราคา แปลง่ายๆเลยละกัน มีสองประเภท
1.1 Buy Limit เราจะใช้ก็ต่อเมื่อ ราคามันลง ๆๆ ลงมาเรื่อยๆ เราหาแนวรับได้แล้ว ประมาณว่า เราจะรับซื้อที่ราคานี้แหระ ก็ใช้คำสั่ง Buy Limit ได้เลยในขณะที่ราคายังไม่ถึง และอีกกรณี คือ เราเห็นราคามันขึ้น ขึ้นไปเรื่อยๆ แต่เราเข้าไม่ทันละ เราต้องคิดว่า ราคามันไม่ขึ้นอย่างเดียวหรอก มันต้องย่อ ก็หาราคาที่มันจะย่อ หรือหาราคาที่จะพักตัวนั่นเอง เพื่อที่จะเข้าออเดอร์ เมื่อหาราคาย่อได้แล้ว ก็ใช้คำสั่ง Buy Limit ทันที
รูปที่ 1 : คำสั่ง Buy Limit คลิกทีรูปเพื่อขยาย |
1.2 Sell limit ตรงข้ามกับหัวข้อ 1.1 เลยครับ มองกลับกัน หากเราคิดว่า ราคามันขึ้นมาถึงจุดนี้ ซึ่งเป็นแนวต้าน มันเด้งลงแน่นอน เราก็ใช้คำสั่ง Sell limit ตั้งรอมันเลย อีกกรณี กราฟเป็นขาลงอยู่ ก็ต้องคิดว่า มันคงไม่ลงอย่างเดียว มันต้องขึ้นพักตัวบ้างสิ เราก็หาราคาที่กราฟเด้งพักตัว พอหาเจอแล้ว ก็ใส่คำสั่ง Sell Stop ได้เลยครับ
รูปที่2 : คำสั่ง Sell Limit คลิกที่รูปเพื่อขยาย |
2.คำสั่ง Stop คำสั่ง Stop คือ คำสั่งที่ใช้ตามราคา ตามเทรน อธิบายความหมายอาจจะไม่เข้าใจ มาดูเลยละกัน มีสองประเภท เหมือนกันครับ
2.1 Buy Stop เราจะใช้คำสั่งนี้ก็ต่อเมื่อ กรณีแรก เราเห็นราคามันลงๆ ลงมาๆเรื่อยๆ ที่นี้เราจะรอเข้า แต่ราคามันต้องสร้าง Uptrend ก่อน ก็คือ จุดต่ำสุดยกตัวสูงขึ้น จุดสูงสุดก็ยกตัวสูงขึ้นด้วยเช่นกัน เมื่อเรารู้ว่า มันเริ่มยกตัวสูงขึ้นแล้ว ก็ใช้จุดสูงสุดแรก เป็นจุดเข้า Buy โดยตั้งสมมติฐานไว้ว่า ถ้าราคาทะลุ High แรกไป ออเดอร์ของเราจะเปิดทันที เราก็ตั้ง Buy Stop ไว้ที่ราคา High แรกเลย
รูปที่3:Buy Stop คลิกที่รูปเพื่อขยาย |
กรณีที่สอง เราเห็นกราฟขึ้นมาสร้างจุดสูงสุด แล้วมันย่อตัวลงไปพักตัว แต่เราคิดว่า ราคามันต้องขึ้นไปต่อแน่นอน เราก็ไปตั้ง Buy Stop ไว้ที่ตำแหน่ง High ถ้าราคาขึ้นมา ออเดอร์ของเราก็จะเปิดทันที
2.2 Sell Stop คำสั่งนี้ก็ตรงข้ามกับหัวข้อ 2.1 ถ้าเราคิดว่า ราคาจะ Breakout Low เดิม ก็ใช้คำสั่ง Sell Stop ตั้งไว้ที่ Low เดิมได้เลย
รูปที่ 4: Sell Stop คลิกที่รูปเพื่อขยาย |
Note : คำสั่ง Stop โดยส่วนใหญ่จะใช้คำสั่งนี้เพื่อเทรดแบบรอราคาทะลุ (Breakout Trading )
นอกจากนี้เรายังสามารถ แก้ไขออเดอร์ที่เราได้ตั้งไว้ (Pending Order) สามารถแก้ได้ทั้งราคาที่จะเข้า (Entry Price ) ราคาตัดขาดทุน (Stop Loss ) ราคาเป้าหมาย (Target Price ) รวมทั้งปรับขนาดของปริมาณการซื้อปริมาณการซื้อ ขายของเรา (Volume lot size) ได้อีกด้วย โดยการคลิกขวาที่ออเดอร์ที่เราเข้าไว้ที่ Terminal (Ctrl+T)
รูปที่ 5 : Modify Order คลิกที่รูปเพื่อขยาย |
คำสั่งพวกนี้จะเหมาะมากสำหรับเทรดเดอร์ที่เทรดแบบ Bar By Bar แท่งต่อแท่ง สมมติว่าราคาแท่งปัจจุบันมันขึ้น ก็ เราก็รอให้มันปิดแท่งก่อน รอราคาแท่งใหม่ย่อลงมาประมาณ ครึ่งแท่ง หรือ ที่ราคาเปิดของแท่งก่อนหน้า แล้วก็ใช้คำสั่ง Buy Limit ในการเข้าออเดอร์ ซึ่งจะหลีกเลี่ยงปัญหา คำถามที่โบรกเกอร์ที่มันชอบถามว่า "คุณแน่ใจหรือ ว่าจะเข้าราคานี้ " หรือ ปัญหาการ Re-Quote นั่นเอง
ลองเอาไปใช้กันนะครับ หวังว่าบทความนี้จะมีประโยชน์กับเพื่อนๆเทรดเดอร์ทุกคน
ขอบคุณสำหรับการอ่านครับ
9professionaltrader
3 ความคิดเห็น:
COOL
แต่ละตัว สามารถเทรดได้ห่างจากค่าจิงตอนนั้นอย่างน้อยสุด กี่จุดคะ
อ่านแล้วยังงงอยู่ครับ
อยากให้สอนเป็นโจทย์ในแต่ละสถานการณ์
เช่น ...
Ex 1. เริ่มต้นมีเงินใน Port รออยู่ อยากตั้งซื้อในราคาถูก แล้วไปรอขายตอนแพง ใช้คำสั่งนี้
เล่นๆ ไป ราคาเสือกไม่ขึ้น แต่ดิ่งลงกว่าจุดที่เราเคยซื้อ ให้ขายทิ้งเอาเงินคืน จะสั่งยังไง ?
แสดงความคิดเห็น
คุณมีความคิดเห็นอย่างไรกับบทความที่ 9professionaltrader ได้เขียน