หลักการทั่วไปของ Senkou Span ใน Ichimoku
Senkou Span เป็นส่วนประกอบของ Ichimoku ซึ่ง Senkou Span จะแบ่งออกเป็นสองส่วนคือ Senkou Span A และ Senkou Span B Senkou Span ไม่ได้บอกแนวโน้มในอนาคต แต่ Senkou Span จะถูก Shift ไปด้านหน้าของราคา ดังรูป
เราจะเห็นว่า Senkou Span ถูก Shift ไปด้านหน้าของราคา เส้นสีเหลืองคือ Senkou Span A และเส้นสีขาวคือ Senkou Span B
เส้นประที่อยู่ระหว่าง Senkou Span ทั้งสองเส้น เราจะเรียกกว่า ก้อนเมฆ (Cloud ) หรือเรียกว่า Kumo
Kumo เปรียบเสมือนจุดสมดุลของกราฟ เมื่อราคาอยู่ภายใน Kumo มันจะสะสมพลังเพื่อไปในทิศทางใด ทิศทางหนึ่ง ดังรูปด้านล่าง
เมื่อราคาอยู่ภายใน Kumo เราต้องรอจนกว่าราคาจะทะลุทางใดทางหนึ่ง ถ้าราคาทะลุ Kumo ขึ้นไปด้านบน ให้ Long (Buy )
และถ้าราคาทะลุ Kumo ลงไปด้านล่าง ให้ Short (sell)
เมื่อ Senkou Span เป็น Flat ราบเรียบขนานไปกับพื้นเป็นเส้นตรงยาวๆ หมายความว่า เส้น Senkou Span จะกลายเป็น แนวรับ/แนวต้านในทันที
Ex.1
Ex.2
กฎทั่วไปของ Kumo (Senkou Span)
ถ้า Senkou Span A อยู่สูงกว่า Senkou Span B ,ให้ Long (buy )
ถ้า Senkou Span A อยู่ต่ำกว่า Senkou Span B , ให้ Short(Sell)
ถ้า Kumo กลายเป็น Flat มันจะกลายเป็นแนวรับแนวต้านที่ดี
ถ้า ราคาอยู่เหนือ Kumo ให้ Long (Buy)
ถ้าราคาอยู่ต่ำกว่า Kumo ให้ Short (Sell)
คำแนะนำนะครับ การดูแนวรับแนวต้านจาก Senkou Span (Kumo) เราต้องเปลี่ยนช่วงเวลาเพื่อหา แนวรับแนวต้านจาก Senkou Span เราสามารถดูแนวรับแนวต้านจากกราฟ 5 m , 15 m , 30 m , 1H , 4H ,Daily
ตัวอย่างเช่น เมื่อเราดูกราฟ 5 นาทีของ GBP/USD เราจะพบว่าราคามันได้ทะลุ Kumo ขึ้นมา แต่เราไม่สามารถรู้ได้ว่า ราคาจะหยุดตรงไหน ดังรูป
ดังนั้นเราควรจะเปลี่ยนช่วงเวลา Time Frame ที่สูงกว่า TimeFrame เดิม จากตัวอย่างผมเปิดกราฟ 30 นาที เพื่อหาแนวต้านและคาดการณ์ว่าราคาจะหยุดตรงนี้ดังรูป กราฟ GBP/USD 30 นาที
-ดูจุดกลับตัวจากจุดตัดของ Senkou Span เมื่อราคาได้ทะลุ Kumo(จุดที่ 1) ขึ้นไปแล้ว Senkou Span ทั้งสองเส้นตัดกันขึ้นไป ราคาขึ้นไปทำยอด แล้วราคามีการดีดตัวลงมา ถ้าราคาดีดตัวลงมาบริเวณจุดตัดของ Senkou Span (จุดที่ 2 ) ดังรูปด้านล่าง
เมื่อมีแท่งเทียนกลับตัวตรงจุดตัดของ Senkou Span(จุดที่ 2) ให้หาจังหวะ Buy ทันที
สำหรับบทความที่เกี่ยวข้องกับ Ichimoku เพื่อนๆสามารถติดตามได้ที่ หมวดหมู่ของบทความ ในหัวข้อ http://9professionaltrader.blogspot.com/search/label/Ichimoku นะครับ
คุณกำลังอ่านข้อความนี้
บทความล่าสุด
บทความ
- กฎการลงทุนของ Victor Sperandeo (1)
- กลยุทธิ์และวิธีเก็งกำไรแบบต่างๆ (20)
- การเลือก Forex Broker (3)
- เกี่ยวกับโบรกเกอร์ (9)
- คอร์สเรียนเทรด (1)
- คูู่มือการใช้โปรแกรมเทรด MT4 (5)
- จัดอันดับโบรกเกอร์forex (1)
- จิตวิทยาในการเล่นหุ้น (1)
- ทฤษฎีดาว ( Dow Theory) (2)
- เทรดข่าวนอนฟาร์ม (1)
- เทรด Forex กับโบรกเกอร์ไหนดี (2)
- แนวรับแนวต้าน (3)
- บทความทั่วไป (2)
- โบรกเกอร์ Forex (2)
- โบรกเกอร์ XM (1)
- ผลงานการเทรดของ Blog (2)
- ระบบทำกำไรอัตโนมัติ MFM5 (1)
- ระบบเทรด (13)
- ระบบเทรดอัตโนมัติ (2)
- รูปแบบกราฟแท่งเทียน (10)
- วิเคราะห์แนวโน้ม (70)
- วิเคราะห์แนวโน้มประจำสัปดาห์ (8)
- อีเอ (1)
- Bitcoin (3)
- Cryptocurrency (2)
- Demand Supply (1)
- Divergence Trading (2)
- E-Book รวมหนังสือ Forex Trading (1)
- Elliott Wave (3)
- Expert Advisor (2)
- Fibonacci (2)
- Forex (14)
- Forex คืออะไร (1)
- Hedge Funds (1)
- Ichimoku (8)
- K9Robot (7)
- MFM5 (3)
- Money management (1)
- Scalping (3)
- THFX Course (1)
ThaiForexSchool Present
- Level 1 Forex Basis
- 1.1 Forex คืออะไร มาทำความรู้จักกันก่อน
- 1.2 ประเภทคำสั่งเทรด (Type of order)
- 1.3 เราจะทำเงินด้วยการเทรด Forex ได้อย่างไร
- 1.4 Leverage คืออะไร
- 1.5 Pips และ Lots คืออะไร
- 1.6 มาทำความรู้จักกับระบบ Lot กันครับ
- Level 2 Type of trading and Charts
- 2.1 หลักการเบื้องต้นในการวิเคราะห์แนวโน้ม
- 2.2 ประเภทของกราฟ(Type of tradings)
- 2.3 ประเภทของการเทรด(Type of tradings)
- Level 3 Candlestick Charts
- 3.1 รูปแบบกราฟแท่งเทียน
- 3.2 การเทรดโดยใช้กราฟแท่งเทียน
- 3.3 Inside Bar
- 3.4 youtube อธิบายแท่งเทียน
- Level 4 แนวรับ และ แนวต้าน
- 4.1 Demand and Supply Zone (Support and Resistance Trading)
- 4.2 Psychology Trading Level
- 4.3 การหาแนวโน้มโดยใช้ Trendline
- 4.4 การหาแนวรับและแนวต้านโดยใช้เครื่องมือต่างๆ
- 4.5 แนวรับและแนวต้าน
- Level 5 Fibonacci Tradings
- 5.1 Fibonacci Number
- 5.2 คลิปการใช้ Fibonacci Retracement
- Level 6 Moving Average เส้นค่าเฉลี่ย
- 6.1 ประเภทของ Moving average
- 6.2 การใช้ Moving Average
ค้นหา
บทความเกี่ยวกับการเล่นหุ้น
Blog Archive
Configure your calendar archive widget - Edit archive widget - Flat List - Newest first - Choose any Month/Year Format
8 ความคิดเห็น:
ขอบคุณมากคะ..กำลังหัดเทรดด้วยอินดี้ตัวนี้อยู่คะ..ขอบคุณคะที่หาข้อมูลมาแบ่งปัน..จะพยายามมาอ่านศึกษามันเยอะๆคะ อิอิ
ด้วยความยินดีครับนานา Ichimoku แรกอาจจะยากหน่อย เพราะชื่อมันจำยาก แต่ถ้าเราจำชื่อของ Ichimoku แต่ละตัวได้แล้ว การใช้ Ichimoku ก็ไม่ได้ยากเลยครับ ผมจึงเขียนบทความของส่วนประกอบของ Ichimoku ให้เพื่อนๆอ่านกัน จะได้เข้าใจหลักการของ Ichimoku แต่ละตัวครับ
ถ้ามีข้อสงสัยอะไร สอบถามได้นะครับ
กำลังหาข้อมูล lchimoku พอดีคะ..ขอบคุณมากนะคะ 9prof..
วิเคราะห์กราฟด้วย lchimoku เราต้องใช้สัณญาน ตัวอื่นเพิ่มไหมคะ 9prof
ขอบคุณ..ครับ... เส้น kijun กับ chiku span ก็บ่งบอก แนวรับ ได้เหมือนกัน.. ครับ.... ดูรวมกับ cloud (moku) ด้วยจริงดี
ต่อ อีกนิด chiku span (26 period) บ่งบอกแนวต้านได้.. และ สามารถ บอก เทรนได้ โดยการเปรียบเทียบ แท่งราคา ที่ อยู่ ตรง ล่างเส้น chiku span กับราคา ปัจจุบัน...
เพื่อให้มี ประสิทธิ์ภาพในการเทรดมากขึ้น ichimoku จะใช้รวมกับ Heiken Ashi.... ใน กราฟ 4H จะบ่งบอกความแม่นยำเพิ่มขึ้น
จาก คนเทรดเดา (เสมือนแมงเม่าตัวใหญ่)
ขอบคุณค่ะ
ขอบคุณมากนะคะ เข้า
ใจขึ้นเยอะเลยคะ
แสดงความคิดเห็น
คุณมีความคิดเห็นอย่างไรกับบทความที่ 9professionaltrader ได้เขียน